วันศุกร์ที่ 20 มกราคม 2560
เนื้อหาที่เรียน
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
1. กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความสามารถสูงมีความเป็นเลิศทางสติปัญญาเรียกโดยทั่ว ๆ ไปว่า “เด็กปัญญาเลิศ”
เด็กฉลาด
ตอบคำถาม
สนใจเรื่องที่ครูสอน
ชอบอยู่กับเด็กอายุเท่ากัน
ความจำดี
เรียนรู้ง่ายและเร็ว
เป็นผู้ฟังที่ดี
พอใจในผลงานของตน
Gifted
ตั้งคำถาม
เรียนรู้สิ่งที่สนใจ
ชอบอยู่กับผู้ใหญ่หรือเด็กที่โตกว่า
อยากรู้อยากเห็น ชอบคาดคะเน
เบื่อง่าย
ชอบเล่า
ติเตียนผลงานของตน
2. กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความบกพร่อง
1. เด็กที่บกพร่องทางสติปัญญา (Children with Intellectual Disabilities)
หมายถึง เด็กที่มีระดับสติปัญญาหรือเชาว์ปัญญาต่ำกว่าเกณฑ์เฉลี่ยเมื่อเทียบเด็กในระดับอายุเดียวกันมี 2 กลุ่ม คือ เด็กเรียนช้า และเด็กปัญญาอ่อน
เด็กเรียนช้า
- สามารถเรียนในชั้นเรียนปกติได้
- เด็กที่มีความสามารถในการเรียนล่าช้ากว่าเด็กปกติ
- ขาดทักษะในการเรียนรู้
- มีความบกพร่องทางสติปัญญาเพียงเล็กน้อย
- มีระดับสติปัญญา (IQ) ประมาณ 71-90
เด็กปัญญาอ่อน
- ระดับสติปัญญาต่ำ - พัฒนาการล่าช้าไม่เหมาะสมกับวัย
- มีพฤติกรรมการปรับตนบกพร่อง
- อาการแสดงก่อนอายุ 18
ลักษณะของเด็กที่บกพร่องทางสติปัญญา
• ไม่พูด หรือพูดได้ไม่สมวัย
• ช่วงความสนใจสั้น วอกแวก
• ความคิด และอารมณ์ เปลี่ยนแปลงง่าย รอคอยไม่ได้
• ทำงานช้า
• รุนแรง ไม่มีเหตุผล
• อวัยวะบางส่วนมีรูปร่างผิดปกติ กล้ามเนื้อทำงานไม่ประสานกัน/ช่วยตนเองได้น้อยกว่าเด็กวัยเดียวกัน
- สามารถเรียนในชั้นเรียนปกติได้
- เด็กที่มีความสามารถในการเรียนล่าช้ากว่าเด็กปกติ
- ขาดทักษะในการเรียนรู้
- มีความบกพร่องทางสติปัญญาเพียงเล็กน้อย
- มีระดับสติปัญญา (IQ) ประมาณ 71-90
เด็กปัญญาอ่อน
- ระดับสติปัญญาต่ำ - พัฒนาการล่าช้าไม่เหมาะสมกับวัย
- มีพฤติกรรมการปรับตนบกพร่อง
- อาการแสดงก่อนอายุ 18
ลักษณะของเด็กที่บกพร่องทางสติปัญญา
• ไม่พูด หรือพูดได้ไม่สมวัย
• ช่วงความสนใจสั้น วอกแวก
• ความคิด และอารมณ์ เปลี่ยนแปลงง่าย รอคอยไม่ได้
• ทำงานช้า
• รุนแรง ไม่มีเหตุผล
• อวัยวะบางส่วนมีรูปร่างผิดปกติ กล้ามเนื้อทำงานไม่ประสานกัน/ช่วยตนเองได้น้อยกว่าเด็กวัยเดียวกัน
ดาวน์ซินโดรม Down Syndrome
สาเหตุ
•ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 21
•ที่พบบ่อยคือโครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมา 1 แท่ง (Trisomy 21)
•ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 21
•ที่พบบ่อยคือโครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมา 1 แท่ง (Trisomy 21)
2. เด็กที่บกพร่องทางการได้ยิน (Children with Hearing Impaired )
หมายถึง เด็กที่มีความบกพร่อง หรือสูญเสียการได้ยินเป็นเหตุให้การรับฟังเสียงต่าง ๆ
ได้ไม่ชัดเจนมี 2 ประเภท คือ เด็กหูตึง และ เด็กหูหนวก
เด็กหูตึง หมายถึง เด็กที่มีความบกพร่อง หรือสูญเสียการได้ยินเป็นเหตุให้การรับฟังเสียงต่าง ๆ
ได้ไม่ชัดเจนมี 2 ประเภท คือ เด็กหูตึง และ เด็กหูหนวก
หมายถึง เด็กที่สูญเสียการได้ยิน แต่สามารถรับข้อมูลได้ โดยใช้เครื่องช่วยฟัง จำแนกกลุ่มย่อยได้ 4 กลุ่ม
1. เด็กหูตึงระดับน้อย ได้ยินตั้งแต่ 26-40 dB
2. เด็กหูตึงระดับปานกลาง ได้ยินตั้งแต่ 41-55 dB
3. เด็กหูตึงระดับมาก ได้ยินตั้งแต่ 56-70 dB
4. เด็กหูตึงระดับรุนแรง ได้ยินตั้งแต่ 71-90 dB
เด็กหูหนวก
- เด็กที่สูญเสียการได้ยินมากถึงขนาดที่ทำให้หมดโอกาสที่จะเข้าใจภาษาพูดจากการได้ยิน
- เครื่องช่วยฟังไม่สามารถช่วยได้
- ไม่สามารถเข้าใจหรือใช้ภาษาพูดได้
- ระดับการได้ยินตั้งแต่ 91 dB ขึ้นไป
3. เด็กที่บกพร่องทางการเห็น (Children with Visual Impairments)
- เด็กที่มองไม่เห็นหรือพอเห็นแสง เห็นเลือนราง
- มีความบกพร่องทางสายตาทั้งสองข้าง
- สามารถเห็นได้ไม่ถึง 1/10 ของคนสายตาปกติ
- มีลานสายตากว้างไม่เกิน 30 องศา
จำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ เด็กตาบอด และ เด็กตาบอดไม่สนิท
เด็กตาบอด - มีความบกพร่องทางสายตาทั้งสองข้าง
- สามารถเห็นได้ไม่ถึง 1/10 ของคนสายตาปกติ
- มีลานสายตากว้างไม่เกิน 30 องศา
จำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ เด็กตาบอด และ เด็กตาบอดไม่สนิท
- เด็กที่ไม่สามารถมองเห็นได้เลย หรือมองเห็นบ้าง
- ต้องใช้ประสาทสัมผัสอื่นในการเรียนรู้
- มีสายตาข้างดีมองเห็นได้ในระยะ 6/60 , 20/200 ลงมาจนถึงบอดสนิท
- มีลานสายตาโดยเฉลี่ยอย่างสูงสุดแคบกว่า 5 องศา
เด็กตาบอดไม่สนิท
- เด็กที่มีความบกพร่องทางสายตา
- สามารถมองเห็นบ้างแต่ไม่เท่ากับเด็กปกติ
- เมื่อทดสอบสายตาข้างดีจะอยู่ในระดับ 6/18, 20/60, 6/60, 20/200 หรือน้อยกว่านั้น
- มีลานสายตาโดยเฉลี่ยอย่างสูงสุดกว้างไม่เกิน 30 องศา
- เด็กที่มีความบกพร่องทางสายตา
- สามารถมองเห็นบ้างแต่ไม่เท่ากับเด็กปกติ
- เมื่อทดสอบสายตาข้างดีจะอยู่ในระดับ 6/18, 20/60, 6/60, 20/200 หรือน้อยกว่านั้น
- มีลานสายตาโดยเฉลี่ยอย่างสูงสุดกว้างไม่เกิน 30 องศา
การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
ความรู้ที่ได้ในวันนี้สามารถนำไปต่อยอดได้ในการสังเกตเด็กที่มีปัญญาเลิศ ความบกพร่องทางสติปัญญา และเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
การประเมินผล
ประเมินตนเอง : มีการจดบันทึกเพิ่มเติมจากเนื้อหา เข้าเรียนตรงเวลา
ประเมินอาจารย์ : ก่อนเริ่มเนื้อหาการเรียนอาจารย์ได้นำเนื้อหาเดิมมาทบทวนความรู้ให้อีกครั้ง ทำให้ เราเข้าใจเรื่องที่จะเรียนมากขึ้น
ประเมินอาจารย์ : ก่อนเริ่มเนื้อหาการเรียนอาจารย์ได้นำเนื้อหาเดิมมาทบทวนความรู้ให้อีกครั้ง ทำให้ เราเข้าใจเรื่องที่จะเรียนมากขึ้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น